ครั้งที่แล้วเราได้พูดถึงเรื่องของแมลงวันทองมา 2 บทคามติดๆ กัน คราวนี้เราจะมาพูดถึงเรื่องการบำรุงใบของพืชในสวนเราบ้าง ด้วยวิธีการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพจากปลาสด ในทางทฤษฎีแล้วในปลาสดจะมีธาตุไนโตรเจนที่สูงมาก ซึ่งโดยปกติธาตุในโตรเจนจะมีอยู่ในอากาศซึ่งสำหรับพืชแล้วจะไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์อะไรได้ ธาตุไนโตรเจนที่พืชสามารถนำไปใช้งานได้จะมีอยู่ในรูปของอินทรีย์วัตถุ ซึ่งเกิดมาจากการสลายตัวภายในดิน เช่นซากสัตว์ ต้นหญ้าตายเน่าเปื่อย ได้จากพืชตระกูลถั่ว เป็นต้น โดยจะมี
ตัวจุลินทรีย์เป็นตัวปลดปล่อยให้
โดยปกติพืชจะมีความต้องการธาตุไนโตรเจนเป็นจำนวนมาก เพราะจะช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช และจะช่วยบำรุงใบให้มีความแข็งแรง โตเร็ว แต่การได้รับธาตุไตโตรเจนเป็นปริมาณมากๆ ก็อาจจะเกิดผลเสียได้เช่นกัน คือทำให้พืชมีอาการอวบน้ำ ต้นจะอ่อน ล้มง่าย ส่งผลให้ โรค และแมลงเข้ารบกวนได้ง่าย พืชบางชนิดก็อาจจะส่งผลเสียเมื่อได้รับไปปริมาณมาก เช่น มัน จะส่งผลให้ไม่ลงหัวหรือลงยาก ถ้าลงหัวก็จะมีแป้งน้อย, อ้อย ก็จะมีรสจืด มีรสสมเปรี้ยว และมีกากมาก
ถ้าใช้กับพืชกินใบก็จะส่งผลดี เช่น พวกผักที่รับประทานใบ หากได้รับในปริมาณที่พอเหมาะสม่ำเสมอจะมีใบอวบ อ่อน น่ารับประทาน
ในทางกลับกัน ถ้าหากพืชมีอาการขาดธาตุไนโตรเจน จะมีอาการแคระแกรน ส่งผลให้โตช้า มีอาการใบเหลือง ใบล่วงหล่นเร็ว ส่งผลถึงการออกดอกผลมีช้ากว่าปกติ และถ้ามีก็จะไม่ค่อยสมบูรณ์ ซึ่งดินทั่วๆ ไปก็จะมีไนโตรเจนไม่เพียงพอกับความต้องการของพืช ดังนั้นเวลาเราปลูกพืชก็ควรมีการบำรุงดิน และพืชด้วยปุ๋ยคอก ปุ๋ยชีวภาพจากปลาสดอย่าสม่ำเสมอ เพื่อผลผลิตที่ดี
แล้วเราจะรู้ได้ไงว่าสภาพดินเรามีธาตุไนโตรเจนอยู่หรือไม่ ไม่ยากค่ะ หากเรามีการปลูกพืชหมุนเวียนสลับกับพืชตระกูลถั่ว ในดินก็มีจะธาตุเหล่านี้อยู่ แต่ถ้าพื้นที่เพาะปลูกของเรามีน้ำขังอยู่ตลอดก็อาจทำให้ดินที่เราจะใช้สำหรับเพาะปลูกสูญเสียธาตุไนโตรเจนได้ ดังนั้นอย่าปล่อยให้น้ำขังในพื้นที่เพาะปลูกนานเกินไป
เอาล่ะเราก็คงทราบถึงสารอาหาร หรือธาตุอาหารที่จะได้จากปุ๋ยชีวภาพจากปลาสดกันแล้ว คราวนี้เรามาดูวิธีการทำกันบ้างดีกว่า
สำหรับการฉีดทางใบ สามารถใช้กับพืชได้ทุกชนิด มีผลทำให้ใบหนา ใบสวย ใช้ในอัตราส่วน 10 ซีซี ต่อน้ำ 1 ลิตร หากนึกภาพไม่ออกว่า 10 ซีซี นั้นเท่าไหร่ให้นึกถึงช้อนแกงบ้านเรา 10 ซีซี คือ 1 ช้อนแกงค่ะ ข้อควรระวังหากฉีดพ้นทางใบ ไม่ควรใช้ในอัตราส่วนที่สูงเกินไปเพราะอาจจะทำให้ใบแก้งได้
สำหรับการราดปุ๋ยชีวภาพปลาสดลงดิน หรือโคนต้น ให้เราใช้ปุ่ยปลาสด 1 ลิตร ต่อน้ำ 50 ลิตรทำทุกๆ 30-60 วันต่อครั้ง
เป็นยังไงกันบ้านค่ะสำหรับข้อมูลวิธีการทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากปลาสดครั้งนี้หวังว่าคงเป็นประโยชน์สำหรับหลายๆ คนนะคะ หากมีข้อมูลเพิ่มเติมยังไงมาแลกเปลี่ยนความรู้กันได้จ้า
ตัวจุลินทรีย์เป็นตัวปลดปล่อยให้
ปลาสดทำปู่ยชีวภาพ |
วิธีการทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากปลาสด
โดยปกติพืชจะมีความต้องการธาตุไนโตรเจนเป็นจำนวนมาก เพราะจะช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช และจะช่วยบำรุงใบให้มีความแข็งแรง โตเร็ว แต่การได้รับธาตุไตโตรเจนเป็นปริมาณมากๆ ก็อาจจะเกิดผลเสียได้เช่นกัน คือทำให้พืชมีอาการอวบน้ำ ต้นจะอ่อน ล้มง่าย ส่งผลให้ โรค และแมลงเข้ารบกวนได้ง่าย พืชบางชนิดก็อาจจะส่งผลเสียเมื่อได้รับไปปริมาณมาก เช่น มัน จะส่งผลให้ไม่ลงหัวหรือลงยาก ถ้าลงหัวก็จะมีแป้งน้อย, อ้อย ก็จะมีรสจืด มีรสสมเปรี้ยว และมีกากมาก
ถ้าใช้กับพืชกินใบก็จะส่งผลดี เช่น พวกผักที่รับประทานใบ หากได้รับในปริมาณที่พอเหมาะสม่ำเสมอจะมีใบอวบ อ่อน น่ารับประทาน
ในทางกลับกัน ถ้าหากพืชมีอาการขาดธาตุไนโตรเจน จะมีอาการแคระแกรน ส่งผลให้โตช้า มีอาการใบเหลือง ใบล่วงหล่นเร็ว ส่งผลถึงการออกดอกผลมีช้ากว่าปกติ และถ้ามีก็จะไม่ค่อยสมบูรณ์ ซึ่งดินทั่วๆ ไปก็จะมีไนโตรเจนไม่เพียงพอกับความต้องการของพืช ดังนั้นเวลาเราปลูกพืชก็ควรมีการบำรุงดิน และพืชด้วยปุ๋ยคอก ปุ๋ยชีวภาพจากปลาสดอย่าสม่ำเสมอ เพื่อผลผลิตที่ดี
แล้วเราจะรู้ได้ไงว่าสภาพดินเรามีธาตุไนโตรเจนอยู่หรือไม่ ไม่ยากค่ะ หากเรามีการปลูกพืชหมุนเวียนสลับกับพืชตระกูลถั่ว ในดินก็มีจะธาตุเหล่านี้อยู่ แต่ถ้าพื้นที่เพาะปลูกของเรามีน้ำขังอยู่ตลอดก็อาจทำให้ดินที่เราจะใช้สำหรับเพาะปลูกสูญเสียธาตุไนโตรเจนได้ ดังนั้นอย่าปล่อยให้น้ำขังในพื้นที่เพาะปลูกนานเกินไป
เอาล่ะเราก็คงทราบถึงสารอาหาร หรือธาตุอาหารที่จะได้จากปุ๋ยชีวภาพจากปลาสดกันแล้ว คราวนี้เรามาดูวิธีการทำกันบ้างดีกว่า
สำหรับวัตถุดิบที่ต้องเตรียมสำหรับปุ๋ยชีวภาพจากปลาสด
- ปลาสด 1 กิโลกรัม
- น้ำตาลทรายแดง 1 กิโลกรัม
- น้ำส้มสายชู 5% 1 แก้ว
- ถังที่มีฝาปิดสนิท หรือจะใช้ผ้ายางพลาสติกคลุมแล้วรัดให้แน่นก็ได้
ขั้นตอนการทำปุ๋ยชีวิภาพจากปลาสด
ให้เราสับปลา แล้วนำไปผสมกับน้ำตาลทรายแดง หลังจากนั้นเติมน้ำส้มสายชู 5% 1 แก้ว หลังจากนั้นหมักทิ้งไว้ 1-2 เดือน เมื่อได้ทีแล้วสามารถนำไปใช้งานได้เลยโดยฉีดพ่นในอัตราส่วน 30 ซีซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร ทุกๆ 7 - 10 วันสำหรับการฉีดทางใบ สามารถใช้กับพืชได้ทุกชนิด มีผลทำให้ใบหนา ใบสวย ใช้ในอัตราส่วน 10 ซีซี ต่อน้ำ 1 ลิตร หากนึกภาพไม่ออกว่า 10 ซีซี นั้นเท่าไหร่ให้นึกถึงช้อนแกงบ้านเรา 10 ซีซี คือ 1 ช้อนแกงค่ะ ข้อควรระวังหากฉีดพ้นทางใบ ไม่ควรใช้ในอัตราส่วนที่สูงเกินไปเพราะอาจจะทำให้ใบแก้งได้
สำหรับการราดปุ๋ยชีวภาพปลาสดลงดิน หรือโคนต้น ให้เราใช้ปุ่ยปลาสด 1 ลิตร ต่อน้ำ 50 ลิตรทำทุกๆ 30-60 วันต่อครั้ง
เป็นยังไงกันบ้านค่ะสำหรับข้อมูลวิธีการทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากปลาสดครั้งนี้หวังว่าคงเป็นประโยชน์สำหรับหลายๆ คนนะคะ หากมีข้อมูลเพิ่มเติมยังไงมาแลกเปลี่ยนความรู้กันได้จ้า
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น