ตามหัวข้อกันเลย การทำปุ๋ยหมักช่วยลดต้นทุน ในยุคที่เราต้องปรับตัวเพื่อให้ทันกับข้อมูล และเทคโนโลยีที่เข้าถึงได้ไวกว่าเดิม ทำให้กิจกรรมทั้งหมดของเราได้รับผลของการเปลี่ยนแปลงไปด้วย ยิ่งถ้ามีกิจกรรมใดที่เราอาจจะยังขาดข้อมูลสำหรับตัดสินใจ เราก็ต้องมีการค้นหา และศึกษาเพื่อหาข้อมูลต่างๆ มาเพิ่มเติม เพื่อให้การลงมือ หรือการตัดสินใจแม่นยำมากขึ้น และบทความนี้เราก็จะมาพูดถึงเรื่อง การทำปุ๋ยหมักช่วยลดต้นทุน ซึ่งจะเกี่ยวทั้ง
การทำปุ๋ยหมัก,
ประโยชน์การทำปุ๋ยหมัก,การทำปุ๋ยหมักจากพืช สิ่งที่อ้อมจะแชร์ในวันนี้สำหรับผู้ที่ยังไม่มั่นใจกับสิ่งที่จะลงมือทำ ถือว่าสำคัญมากๆ เพื่อไม่ให้เสียเวลา เดี๋ยวเราไปเริ่มกันเลยจ้า
|
การทำปุ๋ยหมักช่วยลดต้นทุน |
การทำปุ๋ยหมักช่วยลดต้นทุน
การทำปุ๋ยหมัก
การทำปุ๋ยหมัก คือ การนำเอาเศษซากหรือวัสดุต่างๆ ที่ได้มาจากสิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งพวกที่ได้มาจากพืช เช่น เศษหญ้า ใบไม้ ฟางข้าว ผักตบชวา หรือแม้แต่ขยะมูลฝอยตามบ้านเรือนมากองรวมกัน รดน้ำให้มีความชื้นพอเหมาะ หมักไว้จนกระทั่งเศษพืชหรือวัสดุเหล่านั้นย่อยสลายและแปรสภาพไป กลายเป็นขุยสีดำหรือสีน้ำตาลเข้ม มีลักษณะพรุน ยุ่ย ร่วนซุย ที่เรียกว่า "ปุ๋ยหมัก" การย่อยและการแปรสภาพของเศษพืชหรือ วัสดุดังกล่าวเกิดขึ้นเนื่องจากสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กๆ ที่เรียกว่า "จุลินทรีย์" ซึ่งอาศัยอยู่ในกองปุ๋ยสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กเหล่านี้มีอยู่ มากมายหลายชนิดปะปนกันอยู่และพวกที่มีบทบาทในการแปรสภาพวัสดุมากที่สุดได้แก่ เชื้อราและเชื้อบักเตรี
วิธีการหมักวัสดุต่างๆ ให้กลายเป็นปุ๋ยหมัก อาจทำได้หลายๆ วิธี แตกต่างกันไป เช่น การหมักเศษพืชแต่เพียงอย่างเดียวหรือมีการเติมมูลสัตว์หรือปุ๋ยเคมีลงไปในกองปุ๋ยด้วย เพื่อเร่งให้เศษวัสดุแปรสภาพได้เร็วขึ้น การใส่ผงเชื้อจุลินทรีย์เพิ่มเติมลงไปกองปุ๋ยเพื่อเสริมเชื้อจุลินทรีย์ที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติหรือการมีรูปแบบของการกองปุ๋ยแตกต่างกันไป ซึ่งแต่ละวิธีอาจใช้ระยะเวลาในการหมักไม่เท่ากัน และปุ๋ยหมักที่ได้ก็มีคุณภาพแตกต่างกันไป
|
การทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากพืชช่วยลดต้นทุน |
|
การทำปุ๋ยหมักช่วยลดต้นทุน |
ประโยชน์การทำปุ๋ยหมัก
ปุ๋ยหมักที่สลายตัวได้ที่ดีแล้ว เป็นวัสดุที่ค่อนข้างทนทานต่อการย่อยสลายพอสมควร ดังนั้น เมื่อใส่ลงไปในดิน ปุ๋ยหมักจึงสลายตัวได้ช้า ไม่รวดเร็ว เหมือนกับการไถกลบเศษพืชโดยตรง ซึ่งก็นับว่าเป็นลักษณะที่ดีอย่างหนึ่งของปุ๋ยหมัก เพราะทำให้ปุ๋ยหมักสามารถปรับปรุงดินให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมต่อ การเจริญเติบโตของพืชได้เป็นระยะเวลานานๆ ปุ๋ยหมักบางส่วนจะคงทนอยู่ในดินได้นานเป็นปี แต่ก็มีบางส่วนที่ ถูกย่อยสลายไป ในการย่อยสลายนี้จะมีแร่ธาตุอาหารพืชถูกปลดปล่อยออกมาจากปุ๋ยหมักให้พืชได้ไช้อยู่เรื่อยๆ แม้ว่าจะเป็นปริมาณที่ไม่มากนัก แต่ก็ถูกปลดปล่อย ออกมาตลอดเวลาและสม่ำเสมอ
สำหรับเรื่อง การทำปุ๋ยหมักช่วยลดต้นทุน มาถึงตรงนี้คงเข้าใจกันแล้วเนาะ ว่ามีอะไรเข้ามาเกี่ยวข้องบ้าง หากจะพูดถึงเรื่องราวเกี่ยวกับ
การทำปุ๋ยหมัก,
ประโยชน์การทำปุ๋ยหมัก,การทำปุ๋ยหมักจากพืช เราคงต้องดูกันยาวๆ มีหลายบทความที่ควรค่าแก่การนำมาแชร์ บอกต่อกัน เพื่อเป็นแนวทาง และเส้นทางให้เราเลือกและสามารถนำไปสานต่อกันได้อีก สำหรับครั้งนี้คงต้องขอตัวไปต่อยอดในเรื่องราวอื่นๆ ก่อนนะคะ ได้ผลยังไง หรือมีเทคนิค สาระดีๆ อะไรเพิ่มเติมก็จะมาบอกเล่าให้ฟังเช่นเคยจ้า ฝากติดตามกันด้วยนะคะ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น